2-01 เมืองเวสาลีเกิดทุพภิกขภัย

2-01 เมืองเวสาลีเกิดทุพภิกขภัย

ในสมัยหนึ่ง เมืองเวสาลีเป็นเมืองมั่งคั่ง กว้างขวาง มีชนมาก มีมนุษย์เกลื่อนกล่น มีอาหารหาได้ง่าย ก็ในเมืองเวสาลีนั้นมีกษัตริย์ครอบครองราชสมบัติตามวาระกันถึง ๗,๗๐๐ พระองค์ ปราสาทเพื่อประโยชน์เป็นที่ประทับของกษัตริย์เหล่านั้นก็มีประมาณเท่านั้นเหมือนกัน เรือนยอดก็มีประมาณเท่านั้นเหมือนกัน วังเจ้าลิจฉวี เมืองเวสาลี

 2-02 ทรงแสดงรัตนสูตร ณ เมืองเวสาลี

2-02 ทรงแสดงรัตนสูตร ณ เมืองเวสาลี

ภูตเหล่าใด ประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้มีใจดี และจงฟังภาษิตโดยเคารพ

 4-01 กำเนิดชีวกโกมารภัจจ์

4-01 กำเนิดชีวกโกมารภัจจ์

โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเวฬุวัน อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนครราชคฤห์ ครั้งนั้น พระนครเวสาลีเป็นเมืองมั่งคั่ง กว้างขวาง มีคนมาก มีคนคับคั่ง และมีอาหารหาได้ง่าย มีปราสาท ๗,๗๐๗ หลัง มีเรือนยอด ๗,๗๐๗ หลัง นครราชคฤห์

 4-05 ทรงอนุญาตไตรจีวร

4-05 ทรงอนุญาตไตรจีวร

ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระนครราชคฤห์ ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จพระพุทธดำเนินไปทางพระนครเวสาลี พระองค์เสด็จพระพุทธดำเนินทางไกล ระหว่างพระนครราชคฤห์ และระหว่างพระนครเวสาลีต่อกัน ได้ทอดพระเนตรเห็นภิกษุหลายรูป หอบผ้าพะรุงพะรัง ทัศนียภาพเมืองเวสาลี

 5-01 พระนางมหาปชาบดีโคตมีขอพระวโรกาสให้มาตุคามบรรพชา

5-01 พระนางมหาปชาบดีโคตมีขอพระวโรกาสให้มาตุคามบรรพชา

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ นิโครธาราม ใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ ครั้งนั้นแล พระนางมหาปชาบดีโคตมีเสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ทรงถวายบังคมแล้ว ประทับยืน ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า สิ่งปลูกสร้างในนิโครธาราม

 5-04 ธรรมที่ทำให้เป็นท้าวสักกะ

5-04 ธรรมที่ทำให้เป็นท้าวสักกะ

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ในป่ามหาวัน เขตเมืองเวสาลี ครั้งนั้นแล เจ้าลิจฉวีพระนามว่า มหาลี เสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้ว ทรงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนหนึ่ง เมื่อประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งเรียบร้อยแล้ว ได้ตรัสถามพระผู้มีพระภาคว่า ป้ายแสดงวังลิจฉวี เมืองเวสาลี

 5-12 สีหเสนาบดี โอรสเจ้าลิจฉวีประกาศตนเป็นอุบาสก

5-12 สีหเสนาบดี โอรสเจ้าลิจฉวีประกาศตนเป็นอุบาสก

สีหเสนาบดีนี้ เป็นพระโอรสของเจ้าลิจฉวีองค์หนึ่ง ท่านได้รับแต่งตั้งจากพวกเจ้าลิจฉวี ๗,๗๐๗ องค์ ให้เป็นเสนาบดี เป็นแม่ทัพบริหารแคว้นวัชชี ซึ่งมีกรุงเวสาลีเป็นราชธานี ท่านเป็นสาวกคนสำคัญของนิครนถ์นาฏบุตร วันหนึ่ง เจ้าลิจฉวีบรรดาที่มีชื่อเสียง มีคนรู้จัก นั่งประชุมพร้อมกัน ณ ท้องพระโรง ต่างพากันตรัสสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ

 5-13 สีหเสนาบดีได้ธรรมจักษุ

5-13 สีหเสนาบดีได้ธรรมจักษุ

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงอนุปุพพิกถาแก่สีหเสนาบดี คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม เมื่อพระองค์ทรงทราบว่าสีหเสนาบดีมีจิตคล่อง มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงได้ทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง

 5-14 ทรงพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อที่ทำเฉพาะ

5-14 ทรงพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อที่ทำเฉพาะ

ครั้งนั้นพระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรู้อยู่ ไม่พึงฉันเนื้อที่เขาทำจำเพาะ รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฎ สภาพความเป็นอยู่ในอินเดียชนบท

 5-15 ทรงบัญญัติผลแห่งทานแก่สีหเสนาบดี (๑)

5-15 ทรงบัญญัติผลแห่งทานแก่สีหเสนาบดี (๑)

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่กุฏาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี ครั้งนั้นแล สีหเสนาบดีเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถึงที่ประทับถวายบังคม แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว ได้ทูลถามว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคทรงสามารถบัญญัติผลแห่งทานที่จะพึงเห็นได้ในปัจจุบันหรือหนอ ภายในบริเวณป่ามหาวัน

 5-16 ทรงบัญญัติผลแห่งทานแก่สีหเสนาบดี (๒)

5-16 ทรงบัญญัติผลแห่งทานแก่สีหเสนาบดี (๒)

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้พระนครเวสาลี ครั้งนั้นแล สีหเสนาบดีเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์อาจทรงบัญญัติผลแห่งทานที่ประจักษ์ในปัจจุบันได้หรือไม่” ทัศนียภาพเมืองเวสาลี

45-08 เสด็จโกฏิคาม ทรงปรารภอริยสัจ ๔

45-08 เสด็จโกฏิคาม ทรงปรารภอริยสัจ ๔

ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค ตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า “ดูกรอานนท์ มาไปกันเถิด เราจักไปโกฏิคาม” ท่านพระอานนท์ทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จถึงโกฏิคามแล้ว เสาศิลาจารึกพระเจ้าอโศก กรุงกบิลพัสดุ์

45-09 เสด็จนาทิกคาม ทรงพยากรณ์คติของอริยสาวกผู้ทำกาละแล้ว

45-09 เสด็จนาทิกคาม ทรงพยากรณ์คติของอริยสาวกผู้ทำกาละแล้ว

ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ตามความพอพระทัยในโกฏิคามแล้ว ตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า “ดูกรอานนท์ มา ไปกันเถิด เราจักไปยังนาทิกคาม” ท่านพระอานนท์ทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จถึงนาทิกคามแล้ว ได้ยินว่า พระผู้มีพระภาคประทับในที่พักซึ่งก่อด้วยอิฐที่นาทิกคามนั้น

45-10 ธรรมาทาส เพื่ออริยสาวกผู้ประกอบแล้ว พยากรณ์ตนเองได้ว่า เป็นพระโสดาบัน

45-10 ธรรมาทาส เพื่ออริยสาวกผู้ประกอบแล้ว พยากรณ์ตนเองได้ว่า เป็นพระโสดาบัน

ก็ธรรมปริยายชื่อว่าธรรมาทาสนั้น เป็นไฉน “ดูกรอานนท์ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้าว่า แม้เพราะเหตุนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว หัวสิงห์ เสาอโศก เมืองเวสาลี

45-12 นางอัมพปาลีคณิกาถวายอาราม

45-12 นางอัมพปาลีคณิกาถวายอาราม

นางอัมพปาลีคณิกาได้ทราบข่าวว่า พระผู้มีพระภาคเสด็จถึงเมืองเวสาลี ประทับอยู่ ณ อัมพวันของเรา เขตเมืองเวสาลี ครั้งนั้น นางอัมพปาลีคณิกาสั่งให้จัดยานที่ดี ๆ แล้ว ขึ้นยานออกจากเมืองเวสาลี ตรงไปยังอารามของตน จนตลอดภูมิประเทศเท่าที่ยานจะไปได้ ลงจากยานเดินเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้ว ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ

45-13 เสด็จบ้านเวฬุวคาม

45-13 เสด็จบ้านเวฬุวคาม

ครั้นนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ตามความพอพระทัยในอัมพปาลีวันแล้ว ตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า “ดูกรอานนท์ มาไปกันเถิด เราจักไปยังบ้านเวฬุวคาม” ท่านพระอานนท์ทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคพร้อมภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จถึงบ้านเวฬุวคามแล้ว ได้ยินว่า พระผู้มีพระภาคเสด็จประทับอยู่ในบ้านเวฬุวคามนั้น ณ ที่นั้น

45-14 พระผู้มีพระภาคทรงพระประชวร

45-14 พระผู้มีพระภาคทรงพระประชวร

ครั้งนั้น เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงจำพรรษาแล้ว ทรงประชวรอย่างหนัก เกิดเวทนาอย่างร้ายแรง ถึงใกล้จะปรินิพพาน ได้ยินว่า ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคทรงมีพระสติสัมปชัญญะ อดกลั้น ไม่พรั่นพรึง ทรงพระดำริว่า “การที่เราจะไม่บอกภิกษุผู้อุปัฏฐาก ไม่อำลาภิกษุสงฆ์ พระคันธกุฏี เขาคิชฌกูฏ

45-15 ทรงปรารภการดำรงพระชนม์อยู่

45-15 ทรงปรารภการดำรงพระชนม์อยู่

ครั้งนั้น เวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงนุ่งห่มแล้ว ทรงถือบาตรและจีวรเสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังเมืองเวสาลี ครั้นเสด็จเที่ยวบิณฑบาตแล้ว เวลาปัจฉาภัต เสด็จกลับจากบิณฑบาตแล้ว ตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า “ดูกรอานนท์ เธอจงถือเอาผ้านิสีทนะไป เราจักเข้าไปยังปาวาลเจดีย์ เพื่อพักผ่อนตอนกลางวัน” ประตูทางเข้าโบราณสถาน เมืองเวสาลี

45-17 ทรงปลงอายุสังขาร

45-17 ทรงปลงอายุสังขาร

เมื่อมารกราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบว่า “ดูกรมารผู้มีบาป ท่านจงมีความขวนขวายน้อยเถิด ความปรินิพพานแห่งตถาคตจักมีไม่ช้า โดยล่วงไปอีกสามเดือนแต่นี้ ตถาคตก็จักปรินิพพาน” ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงมีพระสติสัมปชัญญะทรงปลงอายุสังขาร ณ ปาวาลเจดีย์ ปาวาลเจดีย์ เมืองเวสาลี

45-18 เหตุให้แผ่นดินไหวใหญ่ ๘ ประการ

45-18 เหตุให้แผ่นดินไหวใหญ่ ๘ ประการ

ลำดับนั้น ท่านพระอานนท์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นท่านพระอานนท์นั่งเรียบร้อยแล้วได้กราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์ เหตุไม่เคยมีมามีขึ้น แผ่นดินใหญ่ ป่ามหาวัน เมืองเวสาลี

45-19 ทรงแสดงบริษัท ๘

45-19 ทรงแสดงบริษัท ๘

“ดูกรอานนท์ บริษัท ๘ พวกเหล่านี้แล ๘ พวกเป็นไฉน คือ ขัตติยบริษัท พราหมณบริษัท คฤหบดีบริษัท สมณบริษัท จาตุมหาราชิกบริษัท ดาวดึงสบริษัท มารบริษัท พรหมบริษัท ดูกรอานนท์ เรายังจำได้ว่า เราเข้าไปยัง ขัตติยบริษัท หลายร้อยครั้ง ทั้งเราเคยนั่งเคยปราศรัย เคยเข้าสนทนาในขัตติยบริษัทนั้น เรายังจำได้ว่า เราเข้าไปยัง พราหมณบริษัท หลายร้อยครั้ง

45-20 ทรงแสดงอภิภายตนะ ๘

45-20 ทรงแสดงอภิภายตนะ ๘

“ดูกรอานนท์ อภิภายตนะ ๘ ประการ เหล่านี้แล ๘ ประการเป็นไฉน คือผู้หนึ่งมีความสำคัญในรูปภายใน เห็นรูปภายนอกที่เล็ก ซึ่งมีผิวพรรณดีและมีผิวพรรณทราม ครอบงำรูปเหล่านั้นแล้ว มีความสำคัญอย่างนี้ว่า เรารู้ เราเห็น อันนี้ เป็นอภิภายตนะข้อที่หนึ่ง “ดูกรอานนท์ อภิภายตนะ ๘ ประการ เหล่านี้แล

45-21 ทรงแสดงวิโมกข์ ๘

45-21 ทรงแสดงวิโมกข์ ๘

“ดูกรอานนท์ วิโมกข์ ๘ ประการเหล่านี้แล ๘ ประการ เป็นไฉน คือ ภิกษุเห็นรูป อันนี้เป็นวิโมกข์ข้อที่หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญในอรูปภายใน เห็นรูปภายนอก อันนี้เป็นวิโมกข์ข้อที่สอง ภิกษุน้อมใจไปว่า สิ่งนี้งาม อันนี้เป็นวิโมกข์ข้อที่สาม ยอดเขาคิชฌกูฏ